5 อันดับ มหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลก

มหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่เรามาจัดอันดับวันนี้ มีที่ไหนบ้าง มาดูกันเลย

มหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลก โลกของเราเป็นระบบขนาดใญ่ ที่กำเนิดขึ้นจากองค์ประกอบ ที่หลากหลาย ทั้ง ดิน น้ำ ชั้นบรรยากาศ และสิ่งมีชีวิต องค์ประกอบที่ใหญ่ที่สุด คือผืนน้ำที่คิดเป็นสัดส่วนถึง ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด

มหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลก 5 อันดับ คือ

5. มหาสมุทรอาร์คติก (Arctic Ocean)

มหาสมุทรอาร์กติกที่ตั้งอยู่ในบริเวณซีกโลกเหนือมีรูปร่างคล้ายกับวงกลมเป็นมหาสมุทรที่มีขนาดเล็กที่สุด มีพื้นที่ สิบสี่ล้านห้าแสนหกหมื่น ตารางกิโลเมตรและความลึกเฉลี่ยที่ 1038 เมตรมีพื้นดินของทวีปเอเชียทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาเหนือล้อมรอบ มีลักษณะเป็นทะเลกลางธรณีคล้ายกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในมหาสมุทรแอตแลนติก และยังเป็นมหาสมุทรที่มีความเค็มน้อยที่สุดในโลกอีกด้วยในฤดูร้อนของปี 2020 จะเกิดเรื่องน่าวิตกขึ้นกับมหาสมุทรแห่งนี้เมื่อมีการพบว่าน้ำแข็งที่อยู่ภายในสิ่งที่หายไปถึง 70,000 กิโลเมตรต่อปีโดยเฉลี่ยในรอบ 4ทศวรรษที่ผ่านมาและที่น่าวิตกยิ่งกว่าก็คือไม่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของพื้นที่น้ำแข็งเลยจนมีการคาดการณ์กันว่าภายในปี 2535 หรืออีก 24 ปีต่อจากนี้ มหาสมุทรอาร์กติกจะสูญเสียพื้นที่ที่เป็นน้ำแข็งทั้งหมดไปและหากเป็นไปตามที่คาดการณ์นี้จะถือเป็นผลกระทบครั้งใหญ่ที่สุดที่เกิดขึ้นจากภาวะโลกร้อนด้วยฝีมือของมนุษย์

4. มหาสมุทรแอนตาร์กติก (Antarctic Ocean)

ในปี 2000 มหาสมุทรใต้ได้ถูกรับรองสถานะในที่สุด มหาสมุทรใต้หรือแอนตาร์กติกาเป็นมหาสมุทรในชีวิตโลกใต้ที่ทอดยาวตั้งแต่ชายฝั่งของทวีปแอนตาร์กติกามีพื้นที่ทั้งหมดปกคลุมด้วยน้ำแข็งไปจนถึงละติจูด 60 องศาใต้กระแสน้ำไหลจากตะวันออกไปสู่ตะวันตกอุณภูมิที่มหาสมุทรแห่งนี้เย็นกว่ามหาสมุทรทั่วไปนอกจากนี้แอนตาร์กติกเป็นมหาสมุทรแห่งเดียวที่มีระบบนิเวศต่างจากมหาสมุทรแห่งอื่นอีกสัตว์หลายชนิดไม่ว่าจะเป็นแมวน้ำเพนกวินหรือเจ้าแห่งโลกอย่างวาฬสมุทรอย่างว่าจะสามารถพบได้ที่มหาสมุทรแห่งนี้เท่านั้นมหาสมุทรแอนตาร์กติกาเป็นมหาสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลกมีขนาดถึง 20 ล้าน 30 ตารางกิโลเมตรและมีความลึกมากกว่า 5 พันเมตร

3. มหาสมุทรอินเดีย (Indian Ocean)

มหาสมุทรอินเดียเป็นแหล่งน้ำที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกด้วยพื้นที่กว่า 70 ล้าน 5 แสนหกหมื่นตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของพื้นผิวโลกทั้งหมดมีความลึกเฉลี่ยอยู่ที่ 3741 เมตรมีพื้นที่ติดกับทวีปแอฟริกาทวีปเอเชียและทวีปออสเตรเลียอีกทั้งยังมีประเทศที่เป็นหมู่เกาะเป็นจำนวนมากทำให้มหาสมุทรแห่งนี้มีหมู่เกาะที่สวยงามอยู่หลายแห่งไม่ว่าจะเป็นเกาะมาดากัสการ์ เกาะมัลดีฟส์ เกาะต่างๆทางภาคใต้ของไทย ในฝั่งอันดามันที่ขึ้นชื่อเรื่องของความสวยงามกันทุกเกาะ ล้วนแล้วแต่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดียทั้งสิ้นและในปี 2017 ได้มีการค้นพบเบาะแสทวีปที่สูญหายกลางมหาสมุทรอินเดียโดยนักธรณีศาสตร์ชาวแอฟริกาใต้ของมหาวิทยาลัยจากการที่มหาสมุทรอินเดียบางส่วนมีสนามแรงโน้มถ่วงเข้มข้นกว่าที่อื่นๆบ่งบอกได้ว่าที่บริเวณนั้นอาจเคยเป็นแผ่นดินมาก่อนที่จะหายไป

2. มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean)

เพียงแค่สองมหาสมุทรเท่านั้นที่มีบริเวณเชื่อมติดกับทวีปมากกว่า 3 ทวีปและมหาสมุทรแอตแลนติกก็เป็นหนึ่งในนั้นที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกแห่งนี้มีต้นกำเนิดมาจากชื่อของเทพผู้แบกโลกในปกรณัมของกรีกอย่าง atlas โดยชื่อมหาสมุทรนั้นมีความหมายว่าทะเลของแอ๊ดล้าน แอตแลนติกมีพื้นที่ติดกับทวีปของโลกตะวันตกเฉียงใต้ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ฝั่งตะวันออกติดกับทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ถึงร้อยละ 20 ของโลกราวที่ 106 ล้านสี่แสนหกหม่ืนตารางกิโลเมตรรูปร่างคล้ายกับตัว H ในภาษาอังกฤษมีการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือเหนือกับใต้ที่ละติจูด 80 องศาเหนือ

1. มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean)

เป็นมาจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับทวีปทวีปแอตแลนติกแปซิฟิกเชื่อมติดกับทวีปในโลกของเราถึง 5 แห่งได้แก่เอเชีย ออสเตรเลียและแอนตาร์กติกา อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ มีพื้นที่ติดกับแผ่นดินจำนวนมากเช่นนี้ ทำให้แปซิฟิกคือมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ 165 ล้านตารางกิโลเมตรหรือว่าร้อยละ 32 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด ซึ่งมากกว่าบริเวณที่เป็นแผ่นดินทั้งหมดรวมกันอีก นอกจากนี้ยังเป็นมหาสมุทรที่มีความลึกที่สุดในโลกความลึกเฉลี่ยของแปซิฟิกอยู่ที่ 48020 เมตรจุดที่ลึกที่สุดของมหาสมุทรนั้นมีความลึกมากกว่า 10 กิโลเมตรบริเวณดังกล่าวมีชื่อเรียกว่าร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา

#alloveraround #5 อันดับ #มหาสมุทร #มหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลก

ขอบคุณภาพจาก

Facebook
Twitter
Pinterest
Reddit